วันอาทิตย์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2555

รถลากพาเลท,รถลากไฟฟ้า กับการจัดการ
ผู้จัดการมีหน้าที่สองอย่างคือการจัดการกับปัญหาเฉพาะหน้าและการวางแผนงานสำหรับอนาคต โดยผู้จัดการจะมีการติดตามประสิทธิภาพของบุคคลากร การทำงานด้านการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่มีความยากลำบากในการทำงานทำให้องค์การแทบจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการทำงานเพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางที่จะนำองค์การสู่ความสำเร็จ

                     
องค์การไม่สามารถหลีกเลี่ยงจากความเปลี่ยนแปลงได้และการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีความรวดเร็วดังนั้นองค์การจึงต้องมีการจัดการกับนวตกรรมใหม่ๆที่จะนำพาองค์การไปสู่ความสำเร็จ การจัดการกับการเปลี่ยนแปลงจัดเป็น 3 ระดับคือ
-           การเปลี่ยนแปลงแผนงาน ซึ่งเป็นการทำงานแบบระยะสั้นไม่สามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะยาวขององค์การได้
-           การเปลี่ยนแปลงรายการ เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มีความสัมพันธ์กับการปรับเปลี่ยนแผนงาน
-           การเปลี่ยนแปลงแปลงอย่างเชี่ยวชาญเป็นการเปลี่ยนแปลงขององค์การเพื่อปรับการทำงานให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นภายนอกองค์การ ซึ่งถ้าวางแผนไม่ดีจะส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการจัดการและการเปลี่ยนแปลงอย่างเชี่ยวชาญนี้จะต้องอาศัยการจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ซึ่งก็คือนวตกรรมขององค์การนั่นเอง ผู้จัดการจะต้องมีทัศนคติที่ให้การสนับสนุนบุคคลากรในองค์การให้มีส่วนร่วมในการนำเสนอความคิดสร้างสรรค์และกล้าที่จะเสี่ยงในการทำงานในรูปแบบใหม่ๆโดยจะต้องให้เกิดความสมดุลระหว่างคุณภาพและปริมาณ ,การกระจานอำนาจและความคิดรวบยอดที่เกิดจากกระบวนการความคิดสร้างสรรค์ โดยสิ่งที่สำคัญคือ
นวัตกรรมเป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาจากความแปลกใหม่ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงดังนั้นผู้จัดการที่ดีก็จะต้องมีการจัดการที่ดีและแม่นยำ กับการเปลี่ยนแปลงที่มีตลอดและปรับเปลี่ยนได้อย่างรวดเร็วทันต่อสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงจากภายนอกองค์การที่มีอย่างรวดเร็ว
            หนึ่งในสิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีผลต่อการดำเนินธุรกิจที่มีความสำคัญและเป็นที่สนใจในเวลานี้คือ ความปลอดภัยในสถานประกอบการ ของแรงงานการใช้ รถลากพาเลท หรือ รถลากไฟฟ้า จึงเป็นทางเลือกหนึ่ง ของผู้จัดการที่มีวิสัยทัศน์
สนใจใน รายละเอียดดูใน www.qte.co.th 


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น